การ์ตูน ซีรีย์ เรื่อง อิฐ ตอนที่ 3 "อิฐมอญ"
By vLIVING PRO01 มีนาคม 2560 15:10:59
vLIVING PRO
สนใจติดต่อโฆษณาเว็บไซต์กับ vLIVING PRO โทร.02-101-9493 #16, 082-359-3382
ศัพท์ช่างวันนี้ ตีเต๊า
vLIVING PRO
ตุ๊กตาค้ำยัน
vLIVING PRO
บทความอื่นที่น่าสนใจ
  • ศัพท์ช่างวันนี้ "เหล็กหนวดกุ้ง" หรือ "เหล็กเดือย" เป็นเหล็กเสริมสำหรับยึดเกาะโครงสร้างส่วนต่อ เพื่อช่วยให้เกิดความแข็งแรงของโครงสร้างมากขึ้น มาดูกันค่ะว่าเหล็กหนวดกุ้งมีกี่ชนิด อะไรบ้าง และแต่ละชนิดเหมาะกับงานประเภทไหน?

     

      

     

     

     

    นอกจากนี้ เราอาจใช้ประโยชน์จากเศษเหล็กที่เหลือใช้จากงานก่อสร้าง มาทำเป็น "เหล็กเดือย" หรือ "เหล็กหนวดกุ้ง" ได้ด้วยนะคะ 

  • หากจะกำหนดระยะตำแหน่ง เพื่อความแม่นยำ คงจะต้องใช้การตีเต๊า เป็นตัวช่วยแล้วตีเต๊าคืออะไรทำอะไรได้บ้าง มาดูกัน?
    .

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

  • ปัญหาที่มาพร้อมกับหน้าฝนคงจะหนีไม่พ้นเรื่องรั่วตามจุดต่างๆของบ้านผมมีวิธีแนะนำให้ตรวจสอบดูครับว่า 
    วิธีการตรวจเช็คเพื่อไม่ให้เกิดหลังคารั่วได้ มีวิธีการอย่างไร

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

  • วัสดุแผ่นที่ใช้ในบ้าน ยังมีอีกชนิดหนึ่งซึ่งเป็นที่รู้จักกันทั่วไปคือ “ซีเมนต์บอร์ด” ทั้งแผ่นไฟเบอร์ซีเมนต์ และแผ่นไม้อัดซีเมนต์ ซึ่งต่างก็เป็นวัสดุประเภท “ซีเมนต์บอร์ด” ทั้งคู่ แต่คุณสมบัติจะแตกต่างกันออกไป ส่วนจะต่างกันอย่างไร และมีข้อดี-ข้อเสียอะไรบ้างมาดูกันค่ะ 

     

     

     

     

      

     

    จากข้อมูลทั้งหมดนี้ เพื่อนๆ คงจะเข้าใจถึงความแตกต่างระหว่างแผ่นไฟเบอร์ซีเมนต์ กับแผ่นไม้อัดซีเมนต์ มากขึ้นแล้วนะคะ และเราหวังว่าทุกคนจะนำความรู้เหล่านี้ไปเลือกใช้ได้อย่างเหมาะสม เพราะวัสดุทั้ง 2 ชนิดนี้มีความน่าสนใจมากสำหรับการนำมาใช้เป็นส่วนประกอบของบ้านค่ะ

  • ตุ๊กตาค้ำยัน
    By vLIVING PRO23/11/2567

         ตุ๊กตา เป็นสิ่งสำคัญอย่างหนึ่ง สำหรับใช้ในการก่อสร้างอาคารบ้านเรือน ความหมายและประโยชน์ของตุ๊กตา มีดังนี้

     “ตุ๊กตา” ทางช่าง หมายถึง “ไม้ค้ำยัน” ใช้สำหรับรองรับน้ำหนักคานคอนกรีต โดยทั่วไปมีความยาวประมาณ 1-4 เมตร ขึ้นอยู่กับแต่ละส่วนของอาคารที่ก่อสร้าง ไม้ที่นิยมนำมาใช้ทำค้ำยันคือ ไม้เนื้อแข็ง ที่มีขนาด 1.5” x 3” และไม้ยูคาลิปตัส ที่มีขนาด 2” หรือ 3” 

     

     

     

     

    นอกจากนี้ไม้ค้ำยัน และไม้แบบ (แบบหล่อคอนกรีตเสริมเหล็ก)  ต้องใช้งานร่วมกัน สำหรับงานโครงสร้าง ที่มีความสูงตั้งแต่ 2 ชั้นขึ้นไป โดยช่างจะวางไม้แบบท้องคาน แล้วผูกเหล็กคาน และประกอบแบบข้างให้ได้ระดับ โดยใช้ไม้ค้ำยันช่วยในการรับน้ำหนักคอนกรีต ส่วนระยะเวลาในการถอดไม้ค้ำยันสำหรับบ้าน หรืออาคาร คือประมาณ 7 – 14 วัน หรือเมื่อผ่านการทดสอบกำลังคอนกรีตตามที่วิศวกรออกแบบไว้ เพื่อความปลอดภัยของโครงสร้าง

     

    จะเห็นได้ว่า ไม้ค้ำยันมีประโยชน์ และมีความสำคัญ สำหรับขั้นตอนในการก่อสร้างอาคารตั้งแต่ 2 ชั้นขึ้นไป ดังนั้นเราจึงไม่ควรมองข้าม หรือละเลยในการเลือกใช้ไม้ หรือวัสดุที่นำมาใช้ทำไม้ค้ำยัน