รวมสาเหตุวิธีแก้น้ำรั่วซึมจากชั้นบน
By vLIVING PRO05 พฤษภาคม 2565 07:04:19
ปัญหาน้ำรั่วซึมจากเพดานชั้นบนเกิดจากอะไร????
.
หลายบ้านคงเคยเจอปัญหาจากการมีน้ำซึมออกมา
จากฝ้าเพดานชั้นสอง ซึ่งสาเหตุหลักๆ ก็มาจากน้ำ????
.
แต่วันนี้เราจะมาดูสาเหตุที่เจอกันบ่อยๆ
และแนวทางการแก้ไข ว่าหากเกิดเหตุการณ์แบบนี้แล้ว
ต้องทำไงต่อไป เรามีคำตอบมาฝากกัน????
 
 
 
vLIVING PRO
สนใจติดต่อโฆษณาเว็บไซต์กับ vLIVING PRO โทร.02-101-9493 #16, 082-359-3382
บทความอื่นที่น่าสนใจ
  • ฝุ่น ฝุ่น ฝุ่น ตัวปัญหาภายในบ้าน เพราะมันมีขนาดเล็กที่เข้าไปได้ทุกซอกทุกมุม

    วันนี้ผมมีเทคนิคกำจัดฝุ่นง่ายๆมาฝากเพื่อนๆกันนะคร้าบบ

     

     

  •       ไม้ปาร์เก้จะนิยมใช้นำมาปูพื้นเพื่อความสวยงาม ทำมาจากไม้แท้มาในแบบสำเร็จรูป โดยการนำไม้เล็กๆมาเรียงต่อกันให้เต็มแผ่นขนาดใหญ่ แต่หากเราใช้ไปนานๆมักจะมีรอยเกิดขึ้นบนหน้าผิวไม้ ที่เกิดจากการใช้งานในชีวิตประจำวันของเรา  หากเกิดรอยไม่มากนัก ก็สามารถแก้ไขได้ วันนี้เรามีวิธีมาฝากกัน 

     

     

  • ในการต่อเติมโดยใช้โครงเหล็ก และหลังคาเหล็ก ข้อดีคือน้ำหนักเบาโครงสร้างไม่ต้องรับน้ำหนักมาก 

    คนมักจะคิดว่าถ้าไม่หนักมาก ฐานรากไม่ต้องแข็งแรงมากก็ได้ซึ่งเป็นความเข้าใจผิด

     

    กรณีต่อเติมอาคารติดกับอาคารหลักที่มีอยู่แล้ว จะต้องลงเข็มให้มีขนาดหน้าตัด

    และความลึกใกล้เคียงกับเข็มของอาคารหลักเสมอ เพื่อให้การทรุดตัวของทั้งอาคารหลักและส่วนต่อเติม

    ทรุดลงในอัตราที่ ใกล้เคียงกัน ป้องกันการแตกร้าว ตามแนวรอยต่อของอาคารทั้งสอง

     

     

    ซึ่งหากเกิดรอยแยกขึ้น ก็มักจะก่อให้เกิดปัญหาน้ำฝนรั่วซึมเข้ามาภายในบ้านได้ครับ

    ในทางปฏิบัติควรปรึกษาวิศวกรโยธา ที่มีประสบการณ์ เกี่ยวกับงานต่อเติมอาคาร


    เพื่อจะได้ออกแบบได้ถูกต้อง และไม่เกิดปัญหาตามมาในภายหลังครับ

     

  • บ้านจะน่าอยู่ก็มีปัจจัยหลายๆอย่างรวมกัน การทำความสะอาดบ้านถือเป็นสิ่งสำคัญที่สุด เพราะเราใช้บ้านเป็นที่พักอาศัย หลับนอน ในยามที่เราเหนื่อยล้ากลับมา วันนี้เรามีวิธี เคล็ดลับง่ายๆในการทำความสะอาดบ้านมาฝากกัน

  • รวมประเภทโครงสร้างพื้นแบบต่างๆ ในงานก่อสร้าง
    ในงานโครงสร้างพื้นของอาคาร การทำงานของช่าง
    ผรม. สามารถทำได้หลายวิธี
    - ใช้แผ่นพื้นสำเร็จรูปบนโครงสร้างคาน
    ของอาคาร + เทลีนคอนกรีต
    - การเทคอนกรีต On Ground (บดอัดพื้น +
    ปรับระดับ + ผูกเหล็ก หรือวางตะแกรงวายเมช +
    เทคอนกรีตสด ลงบนพื้น) โดยให้พื้นดิน
    เป็นตัวรับน้ำหนักของโครงสร้างพื้นด้านบน
    - การเทคอนกรีตหล่อในที่ (การเข้าแบบ +
    ผูกเหล็ก + เทคอนกรีตบนโครงสร้างคาน
    ของอาคาร)
    - การใช้แผ่นเหล็กพื้นโครงสร้าง
    (เป็นการติดตั้งแผ่นเหล็ก แทนแบบพื้น +
    ผูกเหล็ก + เทคอนกรีตทับหน้าด้านบนอีกรอบ)
    ทั้ง 4 วิธีดังกล่าว เป็นวิธีที่ทำได้ทั้งหมด
    เพียงแต่การเลือกใช้แต่ละวิธีควรมี
    วิศวกรโยธา เป็นผู้ออกแบบและคำนวณ
    สเปคงานก่อนการก่อสร้างจริง
    เพื่อความปลอดภัย เกิดความแข็งแรง
    ในระยะยาว และไม่สิ้นเปลืองงบประมาณ
    การก่อสร้างโดยไม่จำเป็นนะครับ
    เราไปดูรายละเอียดพื้นแต่ละประเภทกันครับ