ศัพท์ช่างวันนี้สว่าน
By vLIVING PRO25 พฤศจิกายน 2567 09:52:15

ในการเลือกสว่านมาใช้งานให้เหมาะสมกับการใช้งาน สามารถเป็นการช่วยเร่งระยะเวลาการทำงานได้  แต่สว่านแต่ละชนิดมีอะไรบ้าง วันนี้เรามีตัวอย่างมาฝากกัน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

vLIVING PRO
สนใจติดต่อโฆษณาเว็บไซต์กับ vLIVING PRO โทร.02-101-9493 #16, 082-359-3382
บทความอื่นที่น่าสนใจ
  • ปัญหารอยร้าวที่เกิดขึ้น ของบ้าน ที่พบเจอกันบ่อยๆ ที่เกิดขึ้นจริงๆแล้วเป็นอันตรายหรือไม่ วันนี้เรามีประเภทของรอยร้าวแต่ละประเภทมาฝากกัน

    1.รอยร้าวเสาเอ็น- ทับหลัง

    ส่วนมากจะเป็นที่หน้าต่างไม้ เพราะเป็นวัสดุที่มีความยืดหดตัวเมื่ออุณหภูมิและความชื้นมีความเปลี่ยนแปลง

     ทำให้ปูนที่ฉาบไว้เกิดรอยร้าวได้ ไม่เป็นอันตรายมาก

    2.ผนังแตกลายงา

    เกิดจากการผสมปูนฉาบที่ไม่ได้คุณภาพ หรือผนังที่ก่อไว้เกิดการหดตัวจากอุณหภูมิจึงทำให้ปูนฉาบเกิดเป็นรอยไม่อันตรายไม่มีผลต่อโครงสร้าง

     

    3.รอยร้าวที่รอยต่อระหว่างผนังกับเสาและคาน

    เกิดจากเวลาก่อสร้างไม่ได้ทำการเสียบเหล็กหนวดกุ้ง เพื่อทำการยึดเกาะกับเสา หรืออาจจะเสียบเหล็กหนวดกุ้งไม่แน่นพอ ทำให้เกิดรอยร้าว

    4.รอยแตกลายงาที่พื้น

    เกิดจากพื้นที่ไม่ได้ปูวัสดุปิดผิวเช่น คอนกรีตขัดมัน เพราะคอนกรีตมีความหนามากเกินไป ทำให้เกิดรอยแตกลายงาได้ แต่ไม่ทำให้เกิดอันตราย ควรปูวัสดุปิดผิวทับไปเช่นกระเบื้องยาง

    5.รอยร้าวแนวดิ่งบนผนัง

    เป็นรอยร้าวที่พื้นแอ่นตัวและคานรับน้ำหนักมากเกินไป หากเกิดรอยร้าวประเภทนี้ ให้เช็คดูว่ามีของที่มีน้ำหนักมากอยู่ตรงนั้นไหม หากมีให้ทำการย้ายไปทันทีเพื่อช่วยลดน้ำหนักตรงนั้น

     

    6.รอยร้าวที่มีสนิมเหล็กเสริมใต้พื้น

    เกิดจากพื้นดาดฟ้ามีน้ำขังจนทำให้ซึมเข้ามาที่เหล็กภายในพื้นคอนกรีต ทำให้เกิดสนิม  ขยายตัวทำให้คอนกรีตที่หุ้มเหล็ก ร่วงออกมาทำให้พื้นไม่สามารถรับน้ำหนักมากๆได้

    7.รอยร้าวทแยงมุมบนผนัง

    สาเหตุมาจากฐานรากมีการทรุดตัว โครงสร้างบ้านไม่แข็งแรง ควรรีบให้วิศวกรมาดูโดยด่วนเพราะอาจทำให้เกิดอันตรายได้

     

    8.รอยร้าวใต้ท้องพื้นรูปกากบาทบริเวณกลางพื้น

    สาเหตุมาจากพื้นด้านบนได้รับน้ำหนักมากจนเกินไปที่จะรับน้ำหนักได้ ควรรีบแก้ไขก่อนพื้นจะถล่มลงมา

    9.รอยร้าวตามขอบและคานพื้น

     

  •  

  •  ระดับความสูงของฝ้าเพดานถือว่ามีความสำคัญมากกับผู้อยู่อาศัย แล้วควรมีความสูงเท่าไหร่ถึงจะดี? แล้วถ้าฝ้าเพดานที่บ้านของเราต่ำ หรือเตี้ยเกินไป ต้องแก้ไขยังไงกันดีนะ? 

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

    ระดับความสูงจากพื้นถึงฝ้าเพดาน เป็นอีกเรื่องควรใส่ใจนะคะ เพราะถ้าหากทำไปแล้วเกิดการผิดพลาด การแก้ไขจะทำได้ยุ่งยาก รวมทั้งสินเปลืองเงินทอง และเวลาอีกด้วย

  • แสงแดดร้อนๆยามบ่าย แผดเผาบ้านเรือน ทำให้บ้านมีความร้อนมาก การติดตั้งระแนงไม้ จึงเป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยลดความร้อนภายในบ้านได้ และยังช่วยลดค่าไฟฟ้าจากการเปิดใช้เครื่องปรับอากาศ รวมถึงช่วยทำให้บ้านดูน่าอยู่มากขึ้นด้วย

     

    การติดตั้งระแนงไม้ สามารถติดตั้งได้กับผนังบ้าน ชายคาบ้าน หรือบริเวณที่แสงแดดส่องเข้ามาในบ้านมากเกินไป รวมถึงต้องขึ้นอยู่กับความเหมาะสม และประโยชน์ใช้สอยด้วย นอกจากนี้ การติดตั้งระแนงไม้ โดยทั่วไปนิยมใช้ไม้ระแนงขนาดหน้ากว้าง 3 นิ้ว และเว้นช่องไฟ 1 นิ้ว เพื่อให้มีแสงแดดส่องผ่านได้บ้าง หรือติดตั้งระแนงเฉียง 45 องศา เพื่อช่วยในการบังแดด กันฝน และช่วยให้ลมผ่านได้ดี

     

     วัสดุที่นำมาใช้ทำระแนง มีอยู่ 3 ชนิดหลักๆ ดังนี้

    1. ระแนงไม้เทียม

     

      

    มีราคาถูก หาง่าย มีความทนทานต่อแสงแดดได้เป็นอย่างดี ติดตั้งง่าย ไม่เป็นวัสดุลามไฟ และปลอดภัยจากแมลงกินไม้ แต่สิ่งที่ต้องระวัง คือ ไม่ควรใช้ไม้เทียมรับน้ำหนักโดยตรง

     

    1. ระแนงไม้จริง

    เหมาะสำหรับผู้ที่ชื่นชอบไม้จริง ส่วนใหญ่นิยมใช้ไม้เนื้อแข็ง เนื่องจากมีลวดลายที่สวยงามเป็นธรรมชาติ แต่มีราคาสูง รวมทั้งถ้าใช้ไปนานๆ และโดนแดด ฝน อาจทำให้ไม้ผุพังได้ หรืออาจโดนปลวก มอดกินได้ ผู้ที่ต้องการใช้ไม้จริงในการทำระแนงไม้ ควรทา หรือฉีดยากันปลวกเป็นประจำ

     

    1. ระแนงไม้สังเคราะห์ (ไวนิล)

    คนทั่วไปเรียกว่า UPVC น้ำหนักเบา มีสี และแบบให้เลือกมากมาย ติดตั้งง่าย รวดเร็ว ทนต่อความชื้น แสงแดด และแมลงต่างๆ แต่มีราคาสูง ฝุ่นชอบเกาะ ต้องคอยเช็ดทำความสะอาดอยู่เสมอ

      

    ทั้งนี้ การที่จะเลือกใช้วัสดุชนิดใดมาทำเป็นระแนงนั้น ควรนึกถึงปัจจัยต่างๆให้ครอบคลุมครบถ้วน เข้ากับบ้านได้อย่างสวยงาม เหมาะสมกับการใช้งานของแต่ละบ้าน และแต่ละส่วนของบ้านด้วย

     

    ขอบคุณรูปภาพจาก Pinterest

  • วัสดุแผ่นที่ใช้ในบ้าน ยังมีอีกชนิดหนึ่งซึ่งเป็นที่รู้จักกันทั่วไปคือ “ซีเมนต์บอร์ด” ทั้งแผ่นไฟเบอร์ซีเมนต์ และแผ่นไม้อัดซีเมนต์ ซึ่งต่างก็เป็นวัสดุประเภท “ซีเมนต์บอร์ด” ทั้งคู่ แต่คุณสมบัติจะแตกต่างกันออกไป ส่วนจะต่างกันอย่างไร และมีข้อดี-ข้อเสียอะไรบ้างมาดูกันค่ะ 

     

     

     

     

      

     

    จากข้อมูลทั้งหมดนี้ เพื่อนๆ คงจะเข้าใจถึงความแตกต่างระหว่างแผ่นไฟเบอร์ซีเมนต์ กับแผ่นไม้อัดซีเมนต์ มากขึ้นแล้วนะคะ และเราหวังว่าทุกคนจะนำความรู้เหล่านี้ไปเลือกใช้ได้อย่างเหมาะสม เพราะวัสดุทั้ง 2 ชนิดนี้มีความน่าสนใจมากสำหรับการนำมาใช้เป็นส่วนประกอบของบ้านค่ะ