ถังแต่ละชนิดที่ใช้ภายในบ้าน มีไว้ทำอะไร?
By vLIVING PRO17 มกราคม 2568 04:39:23

เคยสงสัยมั้ยว่าถังแต่ละชนิด ในบ้านเรามีไว้ทำอะไร ทั้งถังไขมัน ถังบำบัดน้ำเสีย อีกหลายๆถังจริงๆแล้วควรมีหรือไม่ แล้วใช้เพื่ออะไร เรามีคำตอบมาฝากกัน

vLIVING PRO
สนใจติดต่อโฆษณาเว็บไซต์กับ vLIVING PRO โทร.02-101-9493 #16, 082-359-3382
บทความอื่นที่น่าสนใจ
  • รังวัด
    By vLIVING PRO27/12/2567

    การรังวัดที่ดิน

    ในการทำรังวัดจะต้องยื่นเรื่องขอให้เจ้าหน้าที่กรมที่ดิน มาเพื่อดำเนินการตรวจสอบ เพราะเจ้าของที่ดินส่วนใหญ่ที่หวงสิทธิในที่ดินของตนเอง จะทำการ รังวัดที่ดินในทุกๆ 10 ปี เพื่อเป็นการป้องกันการครอบครองปรปักษ์ ในส่วนของการยื่นเรื่องขอการรังวัดก็จะมีขั้นตอนและมีค่าใช้จ่ายในการรังวัดโฉนดที่ดินด้วย

    1.ตรวจสอบหลักฐานที่ดินที่ครอบครอง

         ที่ดินในประเทศไทย สามารถแบ่งออกไปได้หลายประเภทและการใช้ประโยชน์ แบ่งได้ออกเป็น ที่ดินเพื่อการอุตสาหกรรม ทีดินเพื่อการเกษตร เป็นต้น แล้วที่ดินแต่ละประเภทนี้ก็จะมีเอกสารสิทธิ์ หรือ เอกสารต่างๆ แตกต่างกันไป ได้แก่

    • น.ส 3 เป็นหนังสือที่ได้การรับรองจากเจ้าหน้าที่ว่า ได้ทำประโยชน์ในที่ดิน แต่สิทธิ์ครอบครองไม่มีกรรมสิทธิ์ โดยหนังสือเป็นแบบธรรมดามีการรังวัด และจัดทำแผนที่ดิน

    • น.ส 3กเหมือนกับ น.ส3 จะแตกต่างกันที่มีการรังวัด และจัดทำแผนที่ของที่ดินจากภาพระวางรูปถ่ายทางอากาศ

    • นส.4 ครุฑสีแดงสามารถซื้อขาย จำนองได้ สามารถโอนกรรมสิทธิ์ได้

    2.ตรวจสอบพื้นดินรอบข้าง

    เจ้าของที่ดินควรจะทราบว่าพื้นที่รอบข้างที่ติดอยู่นั้นเป็นพื้นที่อะไร เช่น ติดกับพื้นที่สาธารณะไหม หรือเป็นที่ดินเปล่า สวน ไร่ นา หรือเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย เพื่อเป็นการไม่ให้เกิดปัญหาขึ้นมาในภายหลัง

  • หลังจากที่เราได้พูดถึงเรื่องคานทับหลังกันไปแล้ว

    วันนี้ก็มาถึงเรื่อง "เสาเอ็น" กันบ้าง

    จะแตกต่างหรือจะมีหน้าที่อย่างไรมาดูกันครับ

     

     

     

     

  • การเลี้ยงสุนัข เป็นปัญหายอดฮิต ที่ทำให้เกิดปัญหา การทะเลาะวิวาทกับเพื่อนบ้านได้ จึงควรดูแลใส่ใจน้องหมาของเรา ไม่ทำให้เพื่อนบ้านเกิดความรำคาญใจ จึงควรคำนึงถึงเรื่องต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น ดังนี้

     

    1. เลือกเลี้ยงสุนัขให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่เราอยู่อาศัย

     

     ไม่ควรเลือกนำมาเลี้ยงเพียงเพราะความชอบส่วนตัว หรือถูกใจเพียงแค่หน้าตาน่ารักอย่างเดียวเท่านั้น   ควรศึกษาข้อมูลของสุนัขแต่ละสายพันธุ์ให้ดีก่อนนำมาเลี้ยง เช่น บุคลิก ลักษณะนิสัย หรือพฤติกรรม ของสุนัขแต่ละสายพันธุ์ เป็นต้น

     

     

    1. จัดพื้นที่ให้เป็นสัดส่วน

     

     

     

     แบ่งเขตให้สุนัขรู้จักพื้นที่ของตัวเอง  เพื่อเป็นการสร้างวินัยให้กับสุนัข มีพื้นที่กว้างพอดีกับขนาดตัวของสุนัขแต่ละสายพันธุ์  อากาศถ่ายเทได้สะดวก และร่มรื่น

     

     

    1. เก็บอึ ฉี่ ของสุนัขไม่ให้รบกวนเพื่อนบ้าน

    เจ้าของสุนัขควรมีความรับผิดชอบ ในการขับถ่ายของสุนัข ควรฝึกให้สุนัขขับถ่ายในที่ที่เตรียมไว้ หมั่นทำความสะอาดกรง และแผ่นรองอย่างสม่ำเสมอ หรือพาสุนัขออกไปขับถ่ายเวลาเดิมทุกๆวัน เพื่อให้สุนัขมีระบบการขับถ่ายที่แน่นอน ตรงเวลา และควรนำถุง หรือกระดาษไปด้วย  เพื่อเก็บกองอึของสุนัขให้เรียบร้อย ซึ่งเป็นความรับผิดชอบของเจ้าของสุนัขที่มีต่อสังคม เพื่อเป็นการรักษาชุมชนให้น่าอยู่ ไม่ทำให้ผู้อื่นเกิดความเดือดร้อน

     

    1. ใส่สายจูงให้สุนัขทุกครั้ง เมื่อออกจากบ้าน

     

     

    ทำให้สามารถควบคุมสุนัขได้ง่าย ช่วยให้สุนัขปลอดภัยจากอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น ช่วยป้องกันไม่ให้สุนัขวิ่งเข้าบ้านคนอื่น ช่วยให้คนรอบข้างปลอดภัยจากสุนัขของเรา หากสุนัขของเรามีความดุร้าย และยังช่วยป้องกันปัญหาสุนัขกัดกันได้อีกด้วย

     

     

    1. ฝึกสุนัข ไม่ให้ปากเปราะ

     

    ควรเริ่มฝึกตั้งแต่เล็กๆ และค่อยๆฝึกอย่างใจเย็น โดยการที่ เมื่อเห็นว่าสุนัขเห่าสิ่งต่างๆรอบตัว ผู้เลี้ยงควรนิ่งเฉยไว้ก่อน แล้วจึงค่อยเบี่ยงความสนใจ โดยการเคาะโต๊ะ หรือเก้าอี้ เพื่อทำให้สุนัขตกใจ เมื่อสุนัขหยุดเห่าผู้เลี้ยงควรพูดชมว่า “ดีมาก” แล้วลูบที่ต้นคอของสุนัข หรือถ้าสุนัขเห่าเพื่อขอของกิน ผู้เลี้ยงห้ามให้เด็ดขาด  รอให้สุนัขหยุดเห่าแล้วจึงค่อยให้ของกิน เพื่อฝึกให้สุนัขรู้ว่า ต้องไม่เห่าจึงจะได้ของกิน

     

    1. รับฟังความคิดเห็นของเพื่อนบ้าน

     

     

    พูดคุยกับเพื่อนบ้าน สอบถามถึงปัญหา และผลกระทบที่ได้รับจากสุนัขของเรา เพื่อหาทางแก้ไข และป้องกันปัญหาต่างๆที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต

     

    1. สุนัขชอบทำลายข้าวของ

     

     

    ปัญหานี้ อาจเกิดขึ้นเพราะ สุนัขเกิดความเครียด เหงา กลัวว่าจะโดนทิ้ง จึงแสดงพฤติกรรมที่ไม่ดีออกมา เพื่อเรียกร้องความสนใจ ผู้เลี้ยงควรฝึกสุนัขตั้งแต่เล็กๆ ให้คุ้นกับการอยู่ตัวเดียว แต่ถ้าสุนัขชอบทำลายข้าวของเป็นประจำ ทั้งๆที่ไม่ได้อยู่ตัวเดียว ผู้เลี้ยงต้องทำโทษด้วยการ นำกระดาษหนังสือพิมพ์มาม้วน แล้วตีสุนัขเบาๆ ให้เกิดเสียง เพื่อให้สุนัขรู้ว่า ถ้าทำแบบนี้อีกจะถูกทำโทษ

     

    1. มีเวลาใส่ใจดูแลสุนัข

     

     

    ควรสัมผัสตัว ลูบหัว พูดคุยกับสุนัข และควรพูดชมว่า “ดีมาก”  “เก่งมาก” เมื่อสุนัขทำตัวดี น่ารัก รวมถึง ควรมีเวลาว่างเพื่อทำกิจกรรมร่วมกับสุนัขด้วย เช่น พาไปออกกำลังกาย เดินเล่นนอกบ้าน เป็นต้น ช่วงเวลาที่เหมาะสมสำหรับการพาสุนัขไปเดินเล่น คือ

     

    ตอนเช้า ใช้เวลาเดินเล่น ประมาณ 20 – 30 นาที เพื่อช่วยให้สุนัขปลดปล่อยพลังงาน คลายความเครียด ลดนิสัยก้าวร้าว และช่วยให้สุขภาพแข็งแรง

     

    ตอนเย็น เวลาที่เหมาะสมคือ ตั้งแต่เวลา 17.30 น. เป็นต้นไป ใช้เวลาเดินเล่นประมาณ 40 นาที ถึง 1 ชั่วโมง เพื่อช่วยให้สุนัขคลายความเครียด หลังจากที่ต้องอยู่บ้านมาทั้งวัน

     

    วันเสาร์ – อาทิตย์ เป็นวันที่เหมาะกับการฝึกวินัยให้กับสุนัขเพื่อให้ทำตามคำสั่ง และทำกิจกรรมต่างๆร่วมกัน เช่น การพาสุนัขไปตรวจสุขภาพ ไปเที่ยว หรือว่ายน้ำ เป็นต้น เพื่อสร้างความใกล้ชิดสนิทสนม ระหว่างเจ้าของกับสุนัข

     

     

    กฎหมายการเลี้ยงหรือปล่อยสุนัข พ.ศ. 2548 ข้อ 26 และพระราชบัญญัติการสาธารณะสุข พ.ศ. 2535 มาตรา 73 วรรค 2 มีดังนี้

    1. ผู้เลี้ยงต้องดูแลสุนัขไม่ให้ก่อเรื่องเดือดร้อน เช่น เห่าเสียงดังนานๆ เป็นต้น
    2. ต้องดูแลพื้นที่ที่เลี้ยงสุนัขให้สะอาดอยู่เสมอ
    3. กำจัดสิ่งปฏิกูลของสุนัขอย่างสม่ำเสมอ
    4. เมื่อสัตว์เลี้ยงตาย ผู้เลี้ยงต้องจัดการให้ถูกสุขลักษณะ เพื่อป้องกันเชื้อโรคและกลิ่นเหม็น ซึ่งอาจสร้างความเดือดร้อนให้กับเพื่อนบ้านได้
    5. หากสุนัขมีความดุร้าย จะต้องผูกสายลากจูง ที่มีความยาวไม่เกิน 50 เซนติเมตร และต้องใส่ที่ครอบปากตลอดเวลาที่ออกนอกบ้าน หากฝ่าฝืนต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 5,000 บาท หากผู้ใดพบเห็นผู้ที่ทำผิดกฎหมาย และมีหลักฐาน เช่น รูปถ่าย ว่าสุนัขกำลังทำร้ายคน จะมีโทษปรับเป็น 2 เท่า คือ ปรับไม่เกิน 5,000 บาท รวมถึงชดใช้ค่าเสียหาย ค่ารักษาพยาบาล และค่าทำขวัญ

     

    ก่อนตัดสินใจซื้อสุนัขมาเลี้ยง ควรศึกษาให้ดี รวมทั้งศึกษาตัวเราเองด้วยนะคะว่าพร้อมที่จะดูแลน้องหมาหรือไม่ เพื่อไม่ให้เดือดร้อนผู้อื่น และกลายเป็นปัญหาของสังคมในอนาคตด้วยค่ะ

     

    ขอบคุณรูปภาพจาก Pinterest

  •  

    ผนังหนัก คืออะไร?

    คุ้นหูกันมั้ยครับมาลองติดตามกันดูครับว่ามันคืออะไร 

     

     

     

     

     

     

     

     

  •